วันที่เสาร์ที่ 21 กันยายน 2562
แลกเปลี่ยนประสบการณ์และนำเสนอผลงานวิชาการ เดิน จักรยาน

08:30-09:30 น. ลงทะเบียน / รับของที่ระลึกเพื่อเข้าร่วมการประชุมฯ /ศึกษารายละเอียดของการประชุมฯ ตลอดวันจากบอร์ด “ตารางกำหนดการ-สถานที่” หรือสอบถามรายละเอียดเจ้าหน้าที่ที่โต๊ะประชาสัมพันธ์ ชมวิดิโอแนะนำกลุ่มย่อย Think Globally , Bike –Walk Locally โดยแบ่งเป็น 4 ประเด็นสร้างสรรค์  ดังนี้
1. ตัวอย่างการดำเนินงานที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในชุมชน- เมือง เกิดความต้องการอยากเดิน อยากปั่น (Create active societies) :
2. ตัวอย่างการดำเนินงานที่ทำให้เกิดการปรับปรุงกายภาพ สิ่งแวดล้อมและอื่นๆด้านกายภาพ เอื้อให้เกิดการเดินและการใช้จักรยานในชุมชน-เมือง เพิ่มกิจกรรมทางกาย ( Active Environments)
3. ตัวอย่างการดำเนินงานที่ส่งเสริมให้เกิดความต้องการของคนในชุมชน เมือง เลือกการเดินและหรือใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน ( Active people)
4. ตัวอย่างการดำเนินงานที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น ท้องที่ ส่งเสริมให้เกิดเป็นระบบสนับสนุนการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน ( Active systems)
นำเสนอประเด็นสำคัญของการประชุม ฯ : สถานการณ์ PA โลก แนวโน้ม PA ไทย เมื่อเดินจักรยาน คือคำตอบ … โดย นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. และ ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา กรรมการ มูลนิธิสถาบันการเดินและการจักรยานไทย

09:30-10:15 น. นำเสนอประเด็นสำคัญของการประชุม ฯ : สถานการณ์ PA โลก แนวโน้ม PA ไทย เมื่อเดินจักรยาน คือคำตอบ … โดย นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. และ ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา กรรมการ มูลนิธิสถาบันการเดินและการจักรยานไทย

10:15-10:45 น. พักเบรก/รับประทานอาหารว่าง (บริการตนเอง) 

10:45-12:00 น. ช่วงเวลาของการนำเสนอผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 ประเด็นหลัก

Group Activities

 

Group 1 :
Active S
ocieties
การมุ่งสร้างบรรทัดฐานและทัศนคติเชิงบวกต่อการมีกิจกรรมทางกายด้วยการเดินและการใช้จักรยานในสังคมด้วยความรู้และความเข้าใจ

Group 2 :
Active Environments
การจัดการกายภาพและโครงสร้างพื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเดินและการใช้จักรยาน เพิ่ม PA ด้วยความเท่าเทียมต่อคนทุกคน และทุกเพศทุกวัยในสังคม
ผู้ดำเนินรายการ   ผศ.ดร.ปุณญนุช รุธิรโก ผศ.ดร.พลเดช เชาวรัตน์
ผลงานวิจัย • การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมือง-ชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน กรณีศึกษาเทศบาลนครหาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา (ผศ.ดร.ปุณยนุช รุธิรโก)
• การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมือง-ชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน กรณีศึกษา ซอยงามดูพลี สำนักงานเขตสาทร กรุงเทพมหานคร (อ.สุวิมล เจียรธราวานิช)
• การออกแบบชุมชนจักรยาน นวัตกรรมอย่างง่ายส่งเสริมการเดินทางเพื่อความยั่งยืน (นายอารดินทร์ รัตนภู) และผู้แทนจากชุมชนจักรยานตัวอย่าง
• การปรับปรุงทางเดินเท้าในชุมชน (กรณีศึกษา ซอยพุทธบูชา 44) (น.ส.สุทธิดา นวสุขสำราญ)
• การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการรูปแบบที่เหมาะสมต่อการสนับสนุนการใช้จักรยานปันกันใช้ กรณีศึกษาอาคารสำนักงานให้เช่า (นส.สรัสวดี โรจนกุศล)
• การส่งเสริมการใช้จักรยานเพิ่มกิจกรรมทางกาย เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีม่วง (ดร.อมร บุญต่อ)
• การส่งเสริมการสร้างเมืองชุมชนที่เป็นมิตรต่อการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน พื้นที่ศึกษา: ชุมชนสุขสบายใจ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ (ผศ.ดร.พลเดช เชาวรัตน์ )
Group Activities Group 3 :
Active People
การสนับสนุนให้มีกิจกรรมทางกายในทุกช่วงวัยของชีวิต ตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน สถานที่ทำงาน ชุมชน สถานทีท่องเที่ยว
Group 4 :
Active
Systems
นโยบาย งบประมาณ มาตรการของภาครัฐส่วนกลาง และท้องถิ่น ที่สนับสนุนให้เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย ด้วยการเดิน และจักรยาน
 ผู้ดำเนินรายการ ผศ.ดร.สหัทยา วิเศษ ผศ.ดร.ภคภร วัฒนดำรงค์
 ผลงานวิจัย • การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมือง-ชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา (ดร.สิริลักษณ์ ทองพูน)
• การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน (บินไป ปั่นไป) : กรณีศึกษาการออกแบบการเดินทางเชื่อมต่อท่าอากาศยานน่านนคร และชุมชน (นายพงศ์วิสิฐ คำยันต์)
• การเสริมสร้างการเดินและการใช้จักรยานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา (ผศ.ดร.สหัทยา วิเศษ)
• การศึกษาปัจจัยความสำเร็จเชิงระบบ เพื่อส่งเสริมเมือง ชุมชน ที่เป็นมิตรต่อการเดินทาง : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองระนอง (นายพรเทพ ดิษยบุตร)
• การศึกษาปัจจัยความสำเร็จเชิงระบบ เพื่อส่งเสริมเมือง ชุมชน ที่เป็นมิตรต่อการเดินทาง : กรณีศึกษา 11 อปท. จังหวัดพิจิตร (ผศ.ดร.ภคพร วัฒนดำรงค์)
• การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมือง–ชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน กรณีศึกษาชุมชนในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก (ผศ.ดร.ภคพร วัฒนดำรงค์)
• การตรวจสอบปัจจัยที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันและกระบวนการเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหา: กรณีศึกษาตำบลบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา) (ผศ.ดร.สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์)
• แนวทางการพัฒนาเส้นทางจักรยานรูปแบบใหม่ในเทศบาลนครตรัง (อาจารย์สรศักดิ์ ชิตชลธาร)


12:30-13:30 น
. พัก รับประทานอาหารกลางวัน บริเวณชั้น 9 (บริการตัวเอง)

13:30-14:00 น. นำเสนอประเด็นสรุป และข้อเสนอแนะจากแต่ละห้องย่อย ณ เวทีกลาง

14:00-14:45 น. เข้าสู่ช่วงแสดงทัศนคติผู้บริหาร และผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้ร่วมถกประเด็น โดยผู้แทนจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (อยู่ระหว่างประสานงาน)
(1) ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.)
(2) ผู้แทนจากเทศบาล หรือองค์กรปกครองส่วนตำบล
(3) ผู้แทนนักวิชาการ จากสถาบันการศึกษา
(4) ผุ้แทนหน่วยงานภาครัฐ หรือผู้สนับสนุนทุน
รศ.ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา ผู้ดำเนินรายการ

14:45-15:15 น. เปิดเวทีแลกเปลี่ยน ซักถาม แสดงความคิดเห็น จากผู้เข้าร่วมประชุม

15:15-15:20 น. สรุปประเด็น ข้อเสนอแนะ ข้อตกลงร่วมของที่ประชุม ฯ และแผนงานที่ต้องดำเนินการในปีต่อไป

15:20-15:30 น. ผู้แทนองค์กรเจ้าภาพร่วม ถ่ายภาพร่วมกันบนเวที

15:30-16:00 น. รับประทานอาหารว่าง/ผู้แทนองค์กรให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน/เดินทางกลับ

Shares