• กรมการขนส่งทางบก
  • กรมควบคุมมลพิษ
  • กรมทางหลวงชนบท
  • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  • กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • กรมอนามัย
  • กรุงเทพมหานคร
  • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
  • ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
  • ศูนย์วิชาการความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.)
  • สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
  • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย
  • สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย
  • สมาพันธ์ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพไทย
  • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
  • สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ
  • สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)
  • หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

21 กันยายน 2562 งานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 7 ณ อาคารเคเอ็กซ์ (Knowledge Exchange for Innovation Center) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

22 กันยายน 2562 กิจกรรม One Day Bike and Walk Trip
วันเดียวเที่ยวเดินปั่น เรียนรู้วิถีชุมชน
ณ วิสาหกิจชุมชนบ้านริมคลองโฮมสเตย์ อ.เมืองสมุทรสงคราม จ.สมุทรสงคราม

 ส่งเสริมเดิน ปั่น เพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดภาวะเนือยนิ่ง ระดับท้องถิ่น สร้างสุขภาพดีให้เมืองให้โลก
(Think Globally,ฺBike – Walk Locally)

– กะเทาะผลงานวิจัยเดิน จักรยาน ที่นำไปปรับใช้ได้จริงตามบริบทพื้นที่
– นำเสนอตัวอย่างเมือง-ชุมชน ที่(เริ่ม) เป็นมิตรต่อการเดิน-การใช้จักรยาน เริ่มต้นอย่างไรถึงจะไปถูกทาง ?
– เมื่อผู้บริหารปรับ (แนวคิด) …เมืองก็เปลี่ยน ฟังทัศนะของผู้บริหารต่อประเด็นเดิน-จักรยาน ในการพัฒนาชุมชน กับ เมือง
– พบกับนิทรรศการ นวัตกรรม และไอเดียน่าสนใจ ที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเดินทางเพื่อเมือง ชุมชน ยั่งยืน

9 มีนาคม 2561 งานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 6 ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10 มีนาคม 2561 กิจกรรม One Day Trip เราชอบปั่น…ต้องได้ปั่น@เมืองบางกอก

เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยเดิน จักรยาน เพื่อสุขภาพคนและเมือง

(Mode Shift: Bike & Walk to Public Transport Connection)

ปาถกฐาพิเศษ “เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยเดิน จักรยาน เพื่อสุขภาพคนและเมือง”

มอบรางวัลเดินไป ปั่นไป, I Bike I Walk Award

จากจักรยานสู่รถไฟไปต่อด้วยจักรยาน: เร็วกว่า เท่กว่า ง่ายกว่า ทำได้อย่างไร? Bike-Train-Bike-faster, cooler, easier

เวทีนำเสวนา…เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยเดิน จักรยาน เพื่อสุขภาพคนและเมือง ร่วมเสวนาโดยผู้แทนองค์กรที่เกี่ยวข้อง

  • สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม (Mr.Friedel Sehller)
  • การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กระทรวงคมนาคม
    กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  • บทเรียนรู้จากต่างประเทศ ต่อผลสำเร็จที่เกิดขึ้น กรณีศึกษาการส่งเสริมการใช้จักรยานเชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะจาก 4 ประเทศในยุโรป โดย Mr. Bruno Van Zeebroeck, Senior researcher at Transport & Mobility Leuven
  • นำเสนอผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมให้เกิดโครงสร้างพื้นฐานและกายภาพของเมือง-ชุมชน (Infrastructur and Physical) ที่เอื้อต่อเดิน จักรยาน เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ
  • นำเสนอผลงานวิจัย การพัฒนา ออกแบบ วางแผนเส้นทางระบบขนส่ง โครงข่าย (Network) เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ
  • นำเสนอ 6 ตัวอย่างพื้นที่ศึกษา ส่งเสริมเดิน จักรยาน ในชีวิตประจำวัน
  • นำเสนอผลงานวิจัยที่ผลการศึกษาการจัดการการท่องเที่ยววิถีชุมชนด้วยจักรยาน (Tourism) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคน
  • นำเสนองานวิจัยที่มีผลการศึกษานโยบายและกฎหมาย (Policy and Law) ที่ส่งเสริมให้คนในเมือง-ชุมชน เห็นความสำคัญและหันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
  • นำเสนอ 6 ตัวอย่างพื้นที่ศึกษา ส่งเสริมเดิน จักรยาน ในชีวิตประจำวัน (ต่อ)

ภาพกิจกรรม

3 มีนาคม 2560 งานประชุมวิชาการ ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4 มีนาคม 2560 กิจกรรม Walk Trip : ทอดน่อง ท่องวัดวา

ชุมชนที่เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน

Walk and Bike Friendly Community

  • นำผลการศึกษาเรื่องเดินและจักรยานในประเทศไทยมาเผยแพร่สู้สาธารณะ จำนวน 21 เรื่อง โดยแบ่งเป็น Oral Presentation 18 เรื่อง และโปสเตอร์ 3 เรื่อง
  • บทเรียนรู้จากประเทศญี่ปุ่น “การจัดการเมือง-ชุมชนให้เอื้อต่อการเดินและการใช้จักรยาน” โดย Prof. Atsushi FUKUDA, Ph.D., การบรรยายกล่าวถึง การออกแบบเมือง-ชุมชนในประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้ประชาชนสามารถเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวันได้

ภาพกิจกรรม

25 มีนาคม 2559 : ประชุมวิชาการ ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
26 มีนาคม 2559 : Bike and walk Trip  ปั่นชม-เดินชิล ย่านจีนถิ่นบางกอก @ตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กทม.

เดิน-จักรยาน งานเพื่อทุกคน

Bike and Walk for All

  • เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และบทเรียนรู้ด้านจักรยาน จากกรุงไทเป ประเทศไต้หวัน “Commissioner of Public Works Department, Taipei City Government.” โดย Dr.Cheng-sheng Pong ซึ่งการบรรยายจะกล่าวถึงว่ากว่าที่ไต้หวันจะเป็นเมืองจักรยานได้นั้น ต้องมีการศึกษา ลงมือทดลอง ปฏิบัติอย่างไร
  • นำผลการศึกษาเรื่องเดินและจักรยานในประเทศไทยมาเผยแพร่สู้สาธารณะ จำนวน 18 เรื่อง โดยแบ่งเป็น Oral Presentation 12 เรื่อง และโปสเตอร์ 6 เรื่อง
  • กฎหมายกับการบังคับใช้ กรณีดื่มแล้วปั่นในบ้านเรา
  • นโยบายอปท. เพื่อส่งเสริมบุคลากรท้องถิ่นใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน
  • แอปพลิเคชั่นเพิ่มความปลอดภัยให้คนเดินเท้าที่พิการทางสายตา
  • ข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบเชื่อมต่อเดิน-จักรยาน กับระบบขนส่งสาธารณะส่งเสริมให้คนกรุงใช้จักรยานเดินทางในชีวิตประจำวัน
  • สถานีจักรยานเพื่อสุขภาพคน-สุขภาพเมือง ณ เชียงใหม่
  • ทัศนคติพ่อแม่ที่มีต่อการเดินและใช้จักรยานไปรร.ของเด็กๆ
  • “ฮิวเมินไรด์ จักรยานบันดาลใจ” วิเคราะห์ความหมายคนใช้จักรยานจากบทโทรทัศน์
  • ชุดอุปกรณ์ติดตั้งมอเตอร์ช่วยผู้สูงอายุออกกำลังกายด้วยจักรยาน
  • ผู้หญิงเดินห้างจัดเป็นการออกกำลังกายระดับเบา
  • ทน.สงขลากับการพัฒนาเส้นทางจักรยานท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วม
  • จากเครือข่ายสู่ สมาพันธ์ผู้ใช้จักรยานและเดิน
    เปิดลาน Bike and Walk For All  เดิน จักรยาน …งานเพื่อทุกคน

    • ชมและเชียร์ผลงานที่ผ่านเข้ารอบ “การออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน (Bicycle Outfit Design Contest) และประกาศผลการตัดสินผู้ชนะการออกแบบ
    • เยี่ยมชม พูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ กับกิจกรรมและชุดนิทรรศการ เดิน-จักรยาน…งานเพื่อทุกคน

    (1)  สร้างเมือง ชุมชนจักรยาน  เพื่อสุขภาวะ

    (2)  ผ้าป่าเพื่อหมาแมว  …กิจกรรมจักรยานกับงานอาสาเพื่อสังคม

    (3)  ดนตรีหน้าลาน …(คน)จักรยานบรรเลง

    (4)  จักรยาน….โจนทะยาน

    (5) นิทรรศการเมือง ชุมชน เพื่อส่งเสริมการเดิน และการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันขององค์กรร่วมจัด

    ร่วมกิจกรรม เดิน ปั่น ลั่นลาน…. ชวนมาถ่ายภาพ /check in / กด # ประชุมวิชาการเดินจักรยาน หรือ # bike n walk forum รับของที่ระลึกต่างๆ มากมาย

ภาพกิจกรรม

3 เมษายน 2558 :ประชุมวิชาการ 

ณ อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สสส.

4 เมษายน 2558 : Bike trip ปั่นชม เดินชิม @ บางกอกน้อย กทม. (ระยะทางประมาณ 20 กม.)

“ความปลอดภัย” ของคนเดินเท้าและผู้ใช้จักรยาน

Safety Today is Safety Tomorrow

  • ปาฐกถาพิเศษ : บทเรียนรู้จากต่างประเทศด้านความปลอดภัยทำอย่างไร(ไม่)ปลอดภัย โดย ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์
  • นำผลการศึกษาเรื่องเดินและจักรยานในประเทศไทยมาเผยแพร่สู้สาธารณะ จำนวน 25 เรื่อง โดยแบ่งเป็น Oral Presentation 21 เรื่อง และโปสเตอร์ 4 เรื่อง
    • ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายทางจักรยาน กรณีศึกษา ทางจักรยานรอบเกาะรัตนโกสินทร์
    • บทบาทของกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้จักรยานในประเทศไทย
    • โปรแกรมฝึกการเดินและขับขี่จักรยานอย่างปลอดภัยของเด็กวัยเรียน

    สิทธิ์ของคนใช้จักรยานบนทาง

    • การศึกษารูปแบบและมาตรฐานเพื่อการพัฒนาทางเท้าที่เหมาะสมในพื้นที่เมืองของประเทศไทย
    • ปัญหาการใช้สะพานลอยหน้าโรงเรียนและแนวทางแก้ไข กรณีศึกษา โรงเรียนนาหลวง เขตทุ่งครุ กทม.

    ระบบจักรยานสาธารณะในกรุงเทพฯ โครงการจักรยานปัน

    • การจัดจำแนกเส้นทางที่ปลอดภัยต่อผู้ใช้จักรยานด้วยวิธีการแบ่งระดับความกดดันของกระแสจราจร
    • การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของประชากรในการใช้จักรยานและการเดินเพื่อการเชื่อมต่อกับระบบรถไฟฟ้า

    ศึกษาเส้นทางและจุดเสี่ยงพื้นที่โดยรอบพุทธมณฑล และนโยบายในการจัดการความ

    • การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันของประชาชนไทย
    • การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในการออกแบบเส้นทางจักรยาน กรณีศึกษา:เทศบาลนครนครสวรรค์
    • ความนิยมใช้จักรยานเพื่อการสัญจรของผู้สูงอายุในเขตภาคเหนือ
    • การศึกษาพฤติกรรมและรูปแบบการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน กรณีศึกษา: จังหวัดนครพนม

    ภาพลักษณ์ของการเดินเท้าและการขับขี่จักรยานไปทำงานในมุมมองสาธารณชน

    • การศึกษาผลการออกำลังกายด้วยการขี่จักรยานต่อดัชนีมวลกายของบุคลากรทางการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ความคาดหวังของคนเดินเท้าต่อความปลอดภัยในการใช้ทางเท้าสาธารณะ
    • หมวกไฟจักรยาน (Bicycle’s Helmet on)
    • การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยบนทางเท้าในเขตเมือง กรณีศึกษาเทศบาลนคร
      สุราษฎร์ธานี

    สภาพโภชนาการของผู้ออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยานหลังวัยเกษียณ

    • ช่วงที่ 1 : ประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ เดิน-จักรยาน ในสถานศึกษา โรงเรียนเครือข่าย
    • ชุมชนจักรยาน กับประสบการณ์การขับเคลื่อนในพื้นที่ ร่วมแลกเปลี่ยนพูดคุย โดย

    (1) ผู้บริหารท้องถิ่น

    (2) ข้าราชการประจำ

    (3) ผู้นำชุมชนจักรยาน

    (4) เยาวชนสร้างสรรค์

    (5) ผู้นำศาสนา

    • แลกเปลี่ยน ความคิดแนวทางการสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรเพื่อขับเคลื่อนการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย

ภาพกิจกรรม

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 : ประชุมวิชาการ ณ อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สสส.  ซอยงามดูพลี กทม.

วันที่ 1 มีนาคม 2557  : Walk and Bike City Tour “เดินไป ปั่นไป ชมกรุง สรรพศิลป์ถิ่นเมืองกรุง ย่านเก่าบรมบรรพต”

การเดินและจักรยาน ปฏิบัติได้ ปฏิบัติจริง ในบริบทไทย

Practicality of Walking and Cycling in Thai Context

  • ปาฐกถาพิเศษ : เดิน-จักรยาน ปฏิบัติได้ ปฏิบัติจริง ในบริบทไทย Practicality of Walking and Cycling in Thai Context โดย คุณจำรูญ ตั้งไพศาลกิจ ที่ปรึกษาชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย (อดีตรองปลัดกระทรวงคมนาคม)
  • นำผลการศึกษาเรื่องเดินและจักรยานในประเทศไทยมาเผยแพร่สู้สาธารณะ จำนวน 28 เรื่อง โดยแบ่งเป็น Oral Presentation 22 เรื่อง และโปสเตอร์ 6 เรื่อง
    • สมรรถภาพทางกายและใจของผู้สูงอายุ กับการปั่นจักรยานหลัง
      วัยเกษียณ
    • ผลดีของการเพิ่มกิจกรรมการเดินหรือการใช้จักรยานต่อตัวชี้วัดสุขภาพต่างๆในผู้สูงอายุ
    • การรับรู้ด้านสุขภาพและทัศนคติของประชาชนไทยต่อการเดินและการขี่จักรยาน
  • เปรียบเทียบสมรรถภาพทางกาย และผลการตรวจทางเคมีเลือดของกลุ่มอาชีพที่มีกิจกรรมทางกายต่างกัน
    • การประเมินผลระบบสัญญาณไฟจราจรคนเดินข้ามถนนอัจฉริยะในการช่วยคนเดินข้ามถนน
      กรณีศึกษา ถนนประชาอุทิศ และถนนพุทธบูชา
    • การระบุจุดเสี่ยงอันตรายโดยการ
      มีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่บางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ
    • ผลกระทบทางด้านจราจรอันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงการ
      ที่มีต่อสัญจรของคนเดินเท้า
  • อิทธิพลของปัจจัยแฝงต่อความตั้งใจใช้จักรยานของชุมชนเมืองชายทะเล
    • ทัศนคติต่อการเลือกทางลอด/ข้ามถนนของคนเดินเท้ารวมทั้งคนพิการในกทม.
    • แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้วยจักรยาน ณ วนพุทธอุทยานน้ำตกเขาอีโต้ จังหวัดปราจีนบุรี
    • การศึกษาลักษณะโครงสร้างทางเท้าและปัญหาที่เกิดขึ้นกับทางเท้า สำหรับคนเดินและจักรยานในกรุงเทพฯ
  • การวิจัยแบบมีส่วนร่วมในการนำจักรยานมาใช้ในชีวิตประจำวัน
    ของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตความรับผิดชอบ เทศบาลเมืองพนัสนิคม

    • การศึกษาทัศนคติและแนวโน้มพฤติกรรมการใช้จักรยานของนักเรียนและนักศึกษาในเมืองมหาสารคาม
    • บาทวิถี: ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของคนเดินเท้า มนุษย์ล้อ และผู้ใช้จักรยาน กรณีศึกษาการจัดระบบสัญจรในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
    • การส่งเสริมการใช้จักรยานสำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
      บางมด
  • การศึกษาการเลือกวิธีเดินทางบริเวณโดยรอบวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย
    • การพัฒนาโครงข่ายทางจักรยานในเขตเทศบาลตำบลศาลายา
    • การส่งเสริมการใช้จักรยานเพื่อเข้าสู่สถานีระบบขนส่งมวลชนแบบราง กรณีศึกษาสถานีบ้านทับช้าง
    • แนวทางการพัฒนาระบบจักรยานเลียบคลองในเมือง กรณีศึกษา คลองแสนแสบ
  • บทบาทและการใช้งานพื้นที่สาธารณะในบริบททางสังคม: กรณีศึกษา ทางเท้าในอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
    • ปั่นจักรยานแบบไร้หมวกกันน็อค :กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์
    • การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างนโยบายสาธารณะระดับท้องที่สนับสนุนการเดินและการใช้จักรยานในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
  • เปิดเวทีปฏิบัติการภาคชุมชน “ชุมชนจักรยาน กระบวนการการมี ส่วนร่วมที่ออกแบบได้”:  ระดมความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากผู้ปฏิบัติจริง
    • ผู้เข้าร่วมเวทีเชิงปฏิบัติการ และ
    • นพ.สำเริง ศรีผุดผ่อง
      รองนายกเทศมนตรีตำบลเขาพระ
      จ.สุพรรณบุรี
    • นางดารณี กาญจนะ คุ้มสิน
      รองปลัดเทศบาลนครนครสวรรค์
    • นพ.ภักดี สืบนุการณ์ ผู้อำนวยการ รพ.สมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย จ.เลย

    นายวสันต์  หรี่สมวงศ์
    ผู้จัดการโครงการ มูลนิธิโอกาส

ภาพกิจกรรม

วันที่ 29 มีนาคม 2556 ประชุมและเสวนา สถานที่: ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ อาคารสำนักงาน สสส. ซอยงามพลี กทม.

วันที่ 30 มีนาคม 2556 : กิจกรรม Bike trip เที่ยวชุมชนบางกระเจ้า สมุทรปราการ

ปฐมบทส่งเสริมเดิน-จักรยาน

The 1th Thailand Bike & Walk Forum

  • บรรยายพิเศษ โดย ทพ.อนุศักดิ์ คงมาลัย ก้าวย่าง “เดินไป-ปั่นไป” อย่างสง่างาม ด้วยฐานความรู้….
  • นำผลการศึกษาเรื่องเดินและจักรยานในประเทศไทยมาเผยแพร่สู้สาธารณะ จำนวน 19 เรื่อง
  • (1) ห้องเสวนาวิชาการ: รับฟังการนำเสนอและร่วมอภิปรายผลงานวิชาการ เดิน –จักรยาน มากกว่า 20 ผลงาน  อาทิ
    • Building Sustainable On-Campus Cycling Culture: practical experience from Coca-Cola (Thailand)’s Active Campus program
    • ‘วัฒนธรรมจักรยาน’ กับการสร้างสรรค์ ‘เมืองจักรยาน’
    • แนวทางการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเขตเทศบาล
    • ปัจจัยเอื้อ-จำกัดสำหรับการใช้จักรยานในชุมชน
    • เกณฑ์มาตรฐานการออกแบบทางจักรยาน

    (2) ห้องจับเข่าคุย : ชุมชนจักรยาน (อีก) วิถีสู่เมืองน่าอยู่ 

    • ก่อร่างสร้างชุมชนจักรยาน ทำอย่างไร?
    • (ไข) ปัญหา (แจง) อุปสรรค ชุมชนจักรยาน
    • บทบาทผู้นำท้องถิ่น…สู่ชุมชนจักรยาน
    • แรงหนุนชุมชน….สู่ชุมชนจักรยาน

ภาพกิจกรรม

Shares